คุณกำลังมองหาอะไร?

กา

การประชุม The Abortion and Reproductive Justice Conference IV 2024 : The Unfinished Revolution

กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ

20.02.2567
9
0
แชร์
20
กุมภาพันธ์
2567

ัวันที่ 15-16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นเข้าร่วมการประชุม The Abortion and Reproductive Justice Conference IV 2024 : The Unfinished Revolution ซึ่งจัดขึ้นที่คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร 
Asia Safe Abortion Partnership (ASAP) คือเครือข่ายสิทธิการทำแท้งที่ปลอดภัยระดับภูมิภาคซึ่งมีสมาชิกใน 23 ประเทศในภูมิภาคและที่อื่นๆ ASAP เป็นเจ้าภาพการประชุมความยุติธรรมในการทำแท้งและอนามัยการเจริญพันธุ์ (ARJC) IV การประชุมครั้งนี้จัดร่วมกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กระทรวงสาธารณสุข รัฐบาลไทย และ ARSA เป็นเวทีสำหรับการแบ่งปันการเรียนรู้และการวางกลยุทธ์ตลอดจน เครือข่ายในประเด็นการทำแท้งและความยุติธรรมในอนามัยการเจริญพันธุ์ทั่วโลก
จุดมุ่งหมายของการเป็นเจ้าภาพในประเทศไทยในเอเชียคือ:
• เพื่อนำเสียงจากเอเชียเข้าสู่การสนทนาระดับโลกเกี่ยวกับประเด็นเหล่านี้
• เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมจากเอเชียที่ไม่สามารถทำได้ เดินทางและมีส่วนร่วมใน ฟอรัม ดังกล่าวต่างภูมิภาค
• เพื่อให้โอกาสในการมุ่งเน้นไปที่ประเด็นเฉพาะของภูมิภาค
• เพื่อให้แน่ใจว่าผู้นำเยาวชนในเอเชียจะมีเสียงมากขึ้นในการมีส่วนร่วมและมีส่วนร่วมในงานระดับภูมิภาคและระดับโลกที่ใหญ่กว่าเกี่ยวกับประเด็นนี้
วันที่ 16 ก.พ.2567 การเสวนา จากหลายๆประเทศที่เข้าร่วม สรุปประเด็นแลกเปลี่ยนดังนี้
ตาลีบัน (อัฟกานิสถาน) : มีปัญหาการทำแท้งยังไม่เป็นที่ยอมรับ หากทำตัวแพทย์จะไม่ได้รับการยอมรับ มีประเด็นผู้หญิงที่กระทำผิดต้องเข้าคุก และถูกข่มขืนในคุก มีปัญหาการตั้งครรภ์ตามมา และมีปัญหาเรื่องสมองไหลของแพทย์
เคนย่า : ผู้หญิงให้บริการ ไม่สามารถเข้าถึงการทำแท้งที่ปลอดภัย แพทย์ทำได้แค่รักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ HIV เคนย่ายาคุมกำเนิดแพง เด็กที่เกิดมาจากแม่ที่เป็นหญิงขายบริการจะถูกบูลลี่ และมีปัญหาแม่ตายลูกตายจากการเข้าไม่ถึงบริการทางการแพทย์จำนวนมาก
จอร์เจีย : ผู้ติดเชื้อHIV จะถูกกระทำความรุนแรงเป็น 2 เท่า ส่วนใหญ่พบปัญหาซ้ำซ้อน ทั้งใช้ยาเสพติด ให้บริการทางเพศ มีคนจำนวนน้อยที่จะเข้าถึงการทำแท้งที่ปลอดภัย และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ มักถูกตีตรา อำนาจในการตัดสินใจ จะถูกตั้งคำถามโดยผู้ให้บริการ
ASAP เป็น NGO โดยใช้ล่ามภาษามือ ขับเคลื่อนการยุติการตั้งครรภ์ เป็นการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ทำงานกับเยาวชน ชุมชน ร่วมกับในหลายๆประเทศ เช่น ศรีลังกา เนปาล เพื่อสร้างเครือข่ายให้เข้มแข็ง ปี 2020 ทำงานร่วมกับเลบานอนในการเป็นล่ามภาษามือ เพราะพบว่า ประชากร 1.5 พันล้านคนของโลกมีปัญหาทางการได้ยิน มีการใช้สื่อภาพยนต์ เพื่อสอนการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย และอนามัยการเจริญพันธุ์
ยูเครน : กฎหมายการทำแท้งฟรีภายในอายุครรภ์ 22 สัปดาห์ ที่ผ่านมาไม่มีกฎหมายยอมรับ แต่ก็ยังมีความเชื่อเรื่องเป็นบาป และยังมีคนที่ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ผู้ให้บริการก็ไม่ได้รับการเทรน ช่วงนี้เป็นภาวะสงคราม การเข้าถึงยา และการบริการ ยิ่งยากขึ้น ยังมีหญิงถึง 45,000 คนที่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการ และหญิงต้องมีสิทธิในการตัดสินใจในการตั้งครรภ์ของตนเอง
การแก้ปัญหาในแต่ละบริบทของประเทศ
ทุกเครือข่ายต้องพูดถึง ต้องเคลื่อนไหวเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นธรรม การรับรู้ ทำให้ผู้หญิงเข้าถึงข้อมูล ทำให้ผู้บริการทางการแพทย์เข้าใจในเรื่องการเคารพ เรื่องสิทธิในการตัดสินใจของแต่ละบุคคล อำนาจการทำแท้ง ไม่ควรจะเป็นอำนาจของหมอ แต่ควรเป็นอำนาจของทุกคนที่สามารถตัดสินใจได้ ผู้ที่มีปัญหาการได้ยิน ควรมีการใช้ AI ดังนั้น น่าจะเป็นเรื่องความท้าทายในการทำงานมากกว่าภาษามือ ซึ่งทางคนทำงานกลับมองว่า ยังคงทำงานในเรื่องเบสิคอยากให้คนที่มีปัญหาทางการได้ยินเข้ามามีส่วนร่วม เข้าถึงได้ มากกว่า ยังไม่มองถึง AI
การทำงานในสังคมชายเป็นใหญ่
สังคมที่มีการเหยียดเพศ speaker เป็นนร.แพทย์ ในโรงเรียนแพทย์ ที่ยังมีการเล่นโจ๊กเรื่องการข่มขืน การเป็นผู้หญิงในชั้นเรียนที่มีแต่ผู้ชายก็เป็นเรื่องลำบากใจ แม้จะมีความรู้ใหม่ๆเข้ามา แต่การยอมรับในเรื่องเพศก็ยังเป็นเรื่องยาก
เกาหลีใต้ : 90% ยุติการตั้งครรภ์ในคลินิกเอกชน อัตราการเกิดในเกาหลีใต้ต่ำมาก ทำให้รัฐบาลดำเนินการเรื่องยุติการตั้งครรภ์เป็นเรื่องยากขึ้น มีการต่อสู้เพื่อไม่ให้เกิดโทษทางอาญาของคนทำแท้ง การทำงานเรื่องสิทธิมนุษยชนจะพูดถึงสิทธิของผู้หญิง สิทธิกลุ่ม LGBTQเปรียบเทียบการทำแท้ง = อาชญากรรม
speaker : เราจำเป็นต้องต่อสู้เพื่อให้อนามัยการเจริญพันธุ์เป็นส่วนหนึ่งในการดูแลสุขภาพ
ดร.จุง มาเลเซีย : การพูดถึงเรื่องจริยธรรม อาจมีหลายเหตุผลทั้งในเรื่องการทำแท้ง การให้บริการกลุ่มLGBTQ แต่จะต้องไม่อ้างจริยธรรม หรือปฏิเสธในเคสเร่งด่วน แม้จะเป็นสิทธิของผู้ให้บริการ เราจำเป็นต้องเปลี่ยนทัศนคติ เปลี่ยนกฎหมาย นโยบาย โดยเฉพาะสถานการณ์ฉุกเฉิน หมอที่ให้บริการมีจำนวนน้อยมาก เมื่อมีเทคโนโลยี และการที่หญิงตัดสินใจได้ด้วยตนเอง แทนที่จะฟังความคิดเห็นของผู้มารับบริการ ชุมชน แต่กลับฟังความคิดเห็นของผู้นำศาสนาจำนวนหนึ่ง และความพยายามเปลี่ยนให้อยู่ในสถานการณ์ที่ดีขึ้น โดยใช้จิตสำนึกผู้ให้บริการ ต้องไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ใช่ปฏิเสธการบริการ สาเหตุจากเหตุผลทางจริยธรรม
อินเดีย UCLหมอรุ่นใหม่ ไม่ได้ให้ความสนใจเรื่องยุติการตั้งครรภ์ จึงควรมีการบรรจุ และtrain ในร. โรงเรียนแพทย์ จะต้องสอนเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ และคุยกับคนทำงานอนามัยการเจริญพันธุ์ในชุมชน การทำแท้งอยู่แค่ในตำรา แต่การทำงานไม่ได้อยู่แค่ในหนังสือ เราต้องพยายามกันมากกว่านี้เพื่อให้เสียงของเราดังขึ้น ถูกผลักดันว่ากลายเป็นเรื่องที่ผิด ผู้หญิงในโรงเรียนแพทย์พูดเรื่องนี้มากขึ้น โดยไม่ได้รับความสนใจจากนศ.แพทย์ชาย มีการทำเครื่องมือสอนในเรื่องการทำแท้ง ส่งเครื่องมือให้แพทย์ที่ทำการรักษา และเราจะต้องมีการสื่อสารอย่างไร ปชช.จะเข้าถึงได้มากขึ้นและสร้างพื้นที่ปลอดภัย และแพทย์สภาต้องร่วมผลักดัน ยายุติการตั้งครรภ์มียาปลอมในตลาดมืด สื่อสารกับรัฐบาลเพื่อควบคุมคุณภาพยา
นศ.แพทย์หญิงมัลดิฟ คณะบดีเป็นผู้ชาย จากการที่ตนเองถูกคุกคามจากหมอผู้ชาย เมื่อร้องเรียนก็ไม่เกิดอะไรขึ้น นี่ก็เป็นตัวอย่าง.ชายเป็นใหญ่ ชายเป็นใหญ่ไม่ได้เกี่ยวกับเรื่องเพศ แต่เป็นเรื่องมุมมองทัศนคติมากกว่า
เมลเบิร์น ออสเตรเลีย : การยุติการตั้งครรภ์ ไม่จำเป็นต้องให้หมอสั่งทำแท้ง แต่ละรัฐสิทธิต่างกัน ออสเตรเลียใต้ ทำแท้งฟรี แต่อีกรัฐมีค่าใช้จ่าย 5-6 ดอลล่า ผู้หญิง 2ใน3 พึ่งพิงครอบครัว แต่ละรัฐมีกฎหมายในการดูแลหญิงยุติการตั้งครรภ์แตกต่างใช้เงินทำแท้ง และยังคงเป็นประเด็น sensitive การให้บริการกระจุกตัวไม่กี่ที่
อินเดีย การทำแท้งยังไม่ถูกกฎหมายทั้งหมด มี indication เช่น ในรายถูกข่มขืน อนุญาตทำในอายุครรภ์ต่ำกว่า 20wks 2 ปีที่ผ่านมาขยายเป็นต่ำกว่า 24wks. เรื่องอายุครรภ์ไม่ได้เป็นปัจจัยสำคัญ แต่การเข้าถึงบริการที่ถูกกฎหมายสำคัญกว่า การเลือกเพศบุตรในอินเดียก็ยังคงเป็นประเด็น และไม่ถูกกฎหมาย มีข้อมูลพบว่า มีการยุติการตั้งครรภ์เด็กในครรภ์เพศหญิง มากกว่า เพศชาย นศ.แพทย์ ปี 2 อินเดีย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่า ยังคงมีทัศนคติว่า ถ้าเพศชายทำงานที่เกี่ยวข้องกับการยุติการตั้งครรภ์ หมายถึง ทำให้ศักดิ์ศรีความเป็นชายแปดเปื้อน เพศกำเนิด ไม่เท่ากับ เพศกำหนดันที่ 15-16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 ตัวแทนกลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นเข้าร่วมการประชุม The Abortion and Reproductive Justice Conference IV 2024 : The Unfinished Revolution ซึ่งจัดขึ้นที่คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 15-18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
Asia Safe Abortion Partnership (ASAP) คือเครือข่ายสิทธิการทำแท้งที่ปลอดภัยระดับภูมิภาคซึ่งมีสมาชิกใน 23 ประเทศในภูมิภาคและที่อื่นๆ ASAP เป็นเจ้าภาพการประชุมความยุติธรรมในการทำแท้งและอนามัยการเจริญพันธุ์ (ARJC) IV การประชุมครั้งนี้จัดร่วมกับคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กระทรวงสาธารณสุข รัฐบาลไทย และ ARSA เป็นเวทีสำหรับการแบ่งปันการเรียนรู้และการวางกลยุทธ์ตลอดจน เครือข่ายในประเด็นการทำแท้งและความยุติธรรมในอนามัยการเจริญพันธุ์ทั่วโลก
จุดมุ่งหมายของการเป็นเจ้าภาพในประเทศไทยในเอเชียคือ:
• เพื่อนำเสียงจากเอเชียเข้าสู่การสนทนาระดับโลกเกี่ยวกับประเด็นเหล่านี้
• เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมจากเอเชียที่ไม่สามารถทำได้ เดินทางและมีส่วนร่วมใน ฟอรัม ดังกล่าวต่างภูมิภาค
• เพื่อให้โอกาสในการมุ่งเน้นไปที่ประเด็นเฉพาะของภูมิภาค
• เพื่อให้แน่ใจว่าผู้นำเยาวชนในเอเชียจะมีเสียงมากขึ้นในการมีส่วนร่วมและมีส่วนร่วมในงานระดับภูมิภาคและระดับโลกที่ใหญ่กว่าเกี่ยวกับประเด็นนี้
วันที่ 16 ก.พ.2567 การเสวนา จากหลายๆประเทศที่เข้าร่วม สรุปประเด็นแลกเปลี่ยนดังนี้
ตาลีบัน (อัฟกานิสถาน) : มีปัญหาการทำแท้งยังไม่เป็นที่ยอมรับ หากทำตัวแพทย์จะไม่ได้รับการยอมรับ มีประเด็นผู้หญิงที่กระทำผิดต้องเข้าคุก และถูกข่มขืนในคุก มีปัญหาการตั้งครรภ์ตามมา และมีปัญหาเรื่องสมองไหลของแพทย์
เคนย่า : ผู้หญิงให้บริการ ไม่สามารถเข้าถึงการทำแท้งที่ปลอดภัย แพทย์ทำได้แค่รักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ HIV เคนย่ายาคุมกำเนิดแพง เด็กที่เกิดมาจากแม่ที่เป็นหญิงขายบริการจะถูกบูลลี่ และมีปัญหาแม่ตายลูกตายจากการเข้าไม่ถึงบริการทางการแพทย์จำนวนมาก
จอร์เจีย : ผู้ติดเชื้อHIV จะถูกกระทำความรุนแรงเป็น 2 เท่า ส่วนใหญ่พบปัญหาซ้ำซ้อน ทั้งใช้ยาเสพติด ให้บริการทางเพศ มีคนจำนวนน้อยที่จะเข้าถึงการทำแท้งที่ปลอดภัย และไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ มักถูกตีตรา อำนาจในการตัดสินใจ จะถูกตั้งคำถามโดยผู้ให้บริการ
ASAP เป็น NGO โดยใช้ล่ามภาษามือ ขับเคลื่อนการยุติการตั้งครรภ์ เป็นการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ทำงานกับเยาวชน ชุมชน ร่วมกับในหลายๆประเทศ เช่น ศรีลังกา เนปาล เพื่อสร้างเครือข่ายให้เข้มแข็ง ปี 2020 ทำงานร่วมกับเลบานอนในการเป็นล่ามภาษามือ เพราะพบว่า ประชากร 1.5 พันล้านคนของโลกมีปัญหาทางการได้ยิน มีการใช้สื่อภาพยนต์ เพื่อสอนการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย และอนามัยการเจริญพันธุ์
ยูเครน : กฎหมายการทำแท้งฟรีภายในอายุครรภ์ 22 สัปดาห์ ที่ผ่านมาไม่มีกฎหมายยอมรับ แต่ก็ยังมีความเชื่อเรื่องเป็นบาป และยังมีคนที่ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ผู้ให้บริการก็ไม่ได้รับการเทรน ช่วงนี้เป็นภาวะสงคราม การเข้าถึงยา และการบริการ ยิ่งยากขึ้น ยังมีหญิงถึง 45,000 คนที่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการ และหญิงต้องมีสิทธิในการตัดสินใจในการตั้งครรภ์ของตนเอง
การแก้ปัญหาในแต่ละบริบทของประเทศ
ทุกเครือข่ายต้องพูดถึง ต้องเคลื่อนไหวเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นธรรม การรับรู้ ทำให้ผู้หญิงเข้าถึงข้อมูล ทำให้ผู้บริการทางการแพทย์เข้าใจในเรื่องการเคารพ เรื่องสิทธิในการตัดสินใจของแต่ละบุคคล อำนาจการทำแท้ง ไม่ควรจะเป็นอำนาจของหมอ แต่ควรเป็นอำนาจของทุกคนที่สามารถตัดสินใจได้ ผู้ที่มีปัญหาการได้ยิน ควรมีการใช้ AI ดังนั้น น่าจะเป็นเรื่องความท้าทายในการทำงานมากกว่าภาษามือ ซึ่งทางคนทำงานกลับมองว่า ยังคงทำงานในเรื่องเบสิคอยากให้คนที่มีปัญหาทางการได้ยินเข้ามามีส่วนร่วม เข้าถึงได้ มากกว่า ยังไม่มองถึง AI
การทำงานในสังคมชายเป็นใหญ่
สังคมที่มีการเหยียดเพศ speaker เป็นนร.แพทย์ ในโรงเรียนแพทย์ ที่ยังมีการเล่นโจ๊กเรื่องการข่มขืน การเป็นผู้หญิงในชั้นเรียนที่มีแต่ผู้ชายก็เป็นเรื่องลำบากใจ แม้จะมีความรู้ใหม่ๆเข้ามา แต่การยอมรับในเรื่องเพศก็ยังเป็นเรื่องยาก
เกาหลีใต้ : 90% ยุติการตั้งครรภ์ในคลินิกเอกชน อัตราการเกิดในเกาหลีใต้ต่ำมาก ทำให้รัฐบาลดำเนินการเรื่องยุติการตั้งครรภ์เป็นเรื่องยากขึ้น มีการต่อสู้เพื่อไม่ให้เกิดโทษทางอาญาของคนทำแท้ง การทำงานเรื่องสิทธิมนุษยชนจะพูดถึงสิทธิของผู้หญิง สิทธิกลุ่ม LGBTQเปรียบเทียบการทำแท้ง = อาชญากรรม
speaker : เราจำเป็นต้องต่อสู้เพื่อให้อนามัยการเจริญพันธุ์เป็นส่วนหนึ่งในการดูแลสุขภาพ
ดร.จุง มาเลเซีย : การพูดถึงเรื่องจริยธรรม อาจมีหลายเหตุผลทั้งในเรื่องการทำแท้ง การให้บริการกลุ่มLGBTQ แต่จะต้องไม่อ้างจริยธรรม หรือปฏิเสธในเคสเร่งด่วน แม้จะเป็นสิทธิของผู้ให้บริการ เราจำเป็นต้องเปลี่ยนทัศนคติ เปลี่ยนกฎหมาย นโยบาย โดยเฉพาะสถานการณ์ฉุกเฉิน หมอที่ให้บริการมีจำนวนน้อยมาก เมื่อมีเทคโนโลยี และการที่หญิงตัดสินใจได้ด้วยตนเอง แทนที่จะฟังความคิดเห็นของผู้มารับบริการ ชุมชน แต่กลับฟังความคิดเห็นของผู้นำศาสนาจำนวนหนึ่ง และความพยายามเปลี่ยนให้อยู่ในสถานการณ์ที่ดีขึ้น โดยใช้จิตสำนึกผู้ให้บริการ ต้องไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ใช่ปฏิเสธการบริการ สาเหตุจากเหตุผลทางจริยธรรม
อินเดีย UCLหมอรุ่นใหม่ ไม่ได้ให้ความสนใจเรื่องยุติการตั้งครรภ์ จึงควรมีการบรรจุ และtrain ในร. โรงเรียนแพทย์ จะต้องสอนเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ และคุยกับคนทำงานอนามัยการเจริญพันธุ์ในชุมชน การทำแท้งอยู่แค่ในตำรา แต่การทำงานไม่ได้อยู่แค่ในหนังสือ เราต้องพยายามกันมากกว่านี้เพื่อให้เสียงของเราดังขึ้น ถูกผลักดันว่ากลายเป็นเรื่องที่ผิด ผู้หญิงในโรงเรียนแพทย์พูดเรื่องนี้มากขึ้น โดยไม่ได้รับความสนใจจากนศ.แพทย์ชาย มีการทำเครื่องมือสอนในเรื่องการทำแท้ง ส่งเครื่องมือให้แพทย์ที่ทำการรักษา และเราจะต้องมีการสื่อสารอย่างไร ปชช.จะเข้าถึงได้มากขึ้นและสร้างพื้นที่ปลอดภัย และแพทย์สภาต้องร่วมผลักดัน ยายุติการตั้งครรภ์มียาปลอมในตลาดมืด สื่อสารกับรัฐบาลเพื่อควบคุมคุณภาพยา
นศ.แพทย์หญิงมัลดิฟ คณะบดีเป็นผู้ชาย จากการที่ตนเองถูกคุกคามจากหมอผู้ชาย เมื่อร้องเรียนก็ไม่เกิดอะไรขึ้น นี่ก็เป็นตัวอย่าง.ชายเป็นใหญ่ ชายเป็นใหญ่ไม่ได้เกี่ยวกับเรื่องเพศ แต่เป็นเรื่องมุมมองทัศนคติมากกว่า
เมลเบิร์น ออสเตรเลีย : การยุติการตั้งครรภ์ ไม่จำเป็นต้องให้หมอสั่งทำแท้ง แต่ละรัฐสิทธิต่างกัน ออสเตรเลียใต้ ทำแท้งฟรี แต่อีกรัฐมีค่าใช้จ่าย 5-6 ดอลล่า ผู้หญิง 2ใน3 พึ่งพิงครอบครัว แต่ละรัฐมีกฎหมายในการดูแลหญิงยุติการตั้งครรภ์แตกต่างใช้เงินทำแท้ง และยังคงเป็นประเด็น sensitive การให้บริการกระจุกตัวไม่กี่ที่
อินเดีย การทำแท้งยังไม่ถูกกฎหมายทั้งหมด มี indication เช่น ในรายถูกข่มขืน อนุญาตทำในอายุครรภ์ต่ำกว่า 20wks 2 ปีที่ผ่านมาขยายเป็นต่ำกว่า 24wks. เรื่องอายุครรภ์ไม่ได้เป็นปัจจัยสำคัญ แต่การเข้าถึงบริการที่ถูกกฎหมายสำคัญกว่า การเลือกเพศบุตรในอินเดียก็ยังคงเป็นประเด็น และไม่ถูกกฎหมาย มีข้อมูลพบว่า มีการยุติการตั้งครรภ์เด็กในครรภ์เพศหญิง มากกว่า เพศชาย นศ.แพทย์ ปี 2 อินเดีย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่า ยังคงมีทัศนคติว่า ถ้าเพศชายทำงานที่เกี่ยวข้องกับการยุติการตั้งครรภ์ หมายถึง ทำให้ศักดิ์ศรีความเป็นชายแปดเปื้อน เพศกำเนิด ไม่เท่ากับ เพศกำหนด

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

กรมอนามัย
เรามีสาระสุขภาพดีๆ
ส่งตรงถึงคุณ
ทุกวัน